คนไทยเสียชีวิตจากมะเร็งตับเป็นอันดับ 4 ของโลก รัฐขับเคลื่อน “มะเร็งครบวงจร”

ผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับระยะลุกลาม มีความก้าวหน้าในการรักษาด้วยยานวัตกรรมช่วยยืดอายุผู้ป่วย หวังนำเข้าสิทธิประโยชน์ของรัฐ

กรุงเทพฯ ประเทศไทย - 1 ธันวาคม 2567 - VOICE OF LIVER 2024 ฟังเสียงตับ รับมือมะเร็ง ครั้งที่ 3 จัดโดยมูลนิธิรักษ์ตับ ได้รับเกียรติจาก รศ.นพ.เชิดชัย ตันติศิรินทร์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานเปิดงาน กล่าวว่า “มะเร็งเป็นโรคท้าทายของระบบสาธารณสุข เนื่องจากเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของประชากรไทย ซึ่งข้อมูลสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ รายงานในปี 2565 ประเทศไทยมีผู้ป่วยรายใหม่ ราว 1.4 แสนคนต่อปี เสียชีวิตประมาณ 84,000 คน”

นโยบาย 30 บาทพลัส ของกระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้มะเร็งครบวงจรเป็นหนึ่งในนโยบาย Quick Win  โดยมีโครงการ Cancer warrior เป็นตัวคัดกรองตรวจเจอได้เร็ว  เพื่อเข้าสู่การรักษาได้เร็ว  ปัจจุบันมะเร็งตับมียาและเทคโนโลยีที่มีคุณภาพสูงในการรักษาแบบครบวงจร ทั้งส่งเสริม ป้องกัน คัดกรอง วินิจฉัย รักษา และประคับประคอง โดยมีสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และสำนักงานประกันสังคม สนับสนุนในการตรวจคัดกรองให้ได้อย่างทั่วถึง

มะเร็งตับพบมากในเอเชีย

พญ.นภา ศิริวิวัฒนากุล ผู้อำนวยการสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กล่าวถึงสถานการณ์โรคมะเร็งตับในประเทศไทยว่า “พบผู้ป่วยโรคมะเร็งตับจำนวนมากในเอเชีย 73.3% จากข้อมูล GLOBOCAN WHO: Liver 2020 โดยมะเร็งตับเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็น หลังจากเป็นโรคตับอักเสบบีและซี หรือการติดจากการใช้เข็มร่วมกัน โดยโรคตับอักเสบบีสามารถถ่ายทอดจากแม่สู่ลูกถึง 90 % ในจำนวนนี้มีโอกาส 2 % ต่อปี ที่จะกลายเป็นโรคมะเร็งตับ ส่วนโรคตับอักเสบซีสามารถติดต่อทางเลือด มีโอกาสกลายเป็นโรคมะเร็งตับ 1-4 %ต่อปี”

ไทยเสียชีวิตจากมะเร็งตับ เป็นอันดับ 4 ของโลก

คนไทยเสียชีวิตจากมะเร็งตับเป็นอันดับ 4 ของโลก รัฐขับเคลื่อน “มะเร็งครบวงจร”

ผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับระยะลุกลาม มีความก้าวหน้าในการรักษาด้วยยานวัตกรรมช่วยยืดอายุผู้ป่วย หวังนำเข้าสิทธิประโยชน์ของรัฐ

กรุงเทพฯ ประเทศไทย - 1 ธันวาคม 2567 - VOICE OF LIVER 2024 ฟังเสียงตับ รับมือมะเร็ง ครั้งที่ 3 จัดโดยมูลนิธิรักษ์ตับ ได้รับเกียรติจาก รศ.นพ.เชิดชัย ตันติศิรินทร์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานเปิดงาน กล่าวว่า “มะเร็งเป็นโรคท้าทายของระบบสาธารณสุข เนื่องจากเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของประชากรไทย ซึ่งข้อมูลสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ รายงานในปี 2565 ประเทศไทยมีผู้ป่วยรายใหม่ ราว 1.4 แสนคนต่อปี เสียชีวิตประมาณ 84,000 คน”

นโยบาย 30 บาทพลัส ของกระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้มะเร็งครบวงจรเป็นหนึ่งในนโยบาย Quick Win  โดยมีโครงการ Cancer warrior เป็นตัวคัดกรองตรวจเจอได้เร็ว  เพื่อเข้าสู่การรักษาได้เร็ว  ปัจจุบันมะเร็งตับมียาและเทคโนโลยีที่มีคุณภาพสูงในการรักษาแบบครบวงจร ทั้งส่งเสริม ป้องกัน คัดกรอง วินิจฉัย รักษา และประคับประคอง โดยมีสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และสำนักงานประกันสังคม สนับสนุนในการตรวจคัดกรองให้ได้อย่างทั่วถึง

มะเร็งตับพบมากในเอเชีย

พญ.นภา ศิริวิวัฒนากุล ผู้อำนวยการสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กล่าวถึงสถานการณ์โรคมะเร็งตับในประเทศไทยว่า “พบผู้ป่วยโรคมะเร็งตับจำนวนมากในเอเชีย 73.3% จากข้อมูล GLOBOCAN WHO: Liver 2020 โดยมะเร็งตับเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็น หลังจากเป็นโรคตับอักเสบบีและซี หรือการติดจากการใช้เข็มร่วมกัน โดยโรคตับอักเสบบีสามารถถ่ายทอดจากแม่สู่ลูกถึง 90 % ในจำนวนนี้มีโอกาส 2 % ต่อปี ที่จะกลายเป็นโรคมะเร็งตับ ส่วนโรคตับอักเสบซีสามารถติดต่อทางเลือด มีโอกาสกลายเป็นโรคมะเร็งตับ 1-4 %ต่อปี”

ไทยเสียชีวิตจากมะเร็งตับ เป็นอันดับ 4 ของโลก

คนไทยเสียชีวิตจากมะเร็งตับเป็นอันดับ 4 ของโลก รัฐขับเคลื่อน “มะเร็งครบวงจร”

ผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับระยะลุกลาม มีความก้าวหน้าในการรักษาด้วยยานวัตกรรมช่วยยืดอายุผู้ป่วย หวังนำเข้าสิทธิประโยชน์ของรัฐ

กรุงเทพฯ ประเทศไทย - 1 ธันวาคม 2567 - VOICE OF LIVER 2024 ฟังเสียงตับ รับมือมะเร็ง ครั้งที่ 3 จัดโดยมูลนิธิรักษ์ตับ ได้รับเกียรติจาก รศ.นพ.เชิดชัย ตันติศิรินทร์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานเปิดงาน กล่าวว่า “มะเร็งเป็นโรคท้าทายของระบบสาธารณสุข เนื่องจากเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของประชากรไทย ซึ่งข้อมูลสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ รายงานในปี 2565 ประเทศไทยมีผู้ป่วยรายใหม่ ราว 1.4 แสนคนต่อปี เสียชีวิตประมาณ 84,000 คน”

นโยบาย 30 บาทพลัส ของกระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้มะเร็งครบวงจรเป็นหนึ่งในนโยบาย Quick Win  โดยมีโครงการ Cancer warrior เป็นตัวคัดกรองตรวจเจอได้เร็ว  เพื่อเข้าสู่การรักษาได้เร็ว  ปัจจุบันมะเร็งตับมียาและเทคโนโลยีที่มีคุณภาพสูงในการรักษาแบบครบวงจร ทั้งส่งเสริม ป้องกัน คัดกรอง วินิจฉัย รักษา และประคับประคอง โดยมีสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และสำนักงานประกันสังคม สนับสนุนในการตรวจคัดกรองให้ได้อย่างทั่วถึง

มะเร็งตับพบมากในเอเชีย

พญ.นภา ศิริวิวัฒนากุล ผู้อำนวยการสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กล่าวถึงสถานการณ์โรคมะเร็งตับในประเทศไทยว่า “พบผู้ป่วยโรคมะเร็งตับจำนวนมากในเอเชีย 73.3% จากข้อมูล GLOBOCAN WHO: Liver 2020 โดยมะเร็งตับเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็น หลังจากเป็นโรคตับอักเสบบีและซี หรือการติดจากการใช้เข็มร่วมกัน โดยโรคตับอักเสบบีสามารถถ่ายทอดจากแม่สู่ลูกถึง 90 % ในจำนวนนี้มีโอกาส 2 % ต่อปี ที่จะกลายเป็นโรคมะเร็งตับ ส่วนโรคตับอักเสบซีสามารถติดต่อทางเลือด มีโอกาสกลายเป็นโรคมะเร็งตับ 1-4 %ต่อปี”

ไทยเสียชีวิตจากมะเร็งตับ เป็นอันดับ 4 ของโลก

คนไทยเสียชีวิตจากมะเร็งตับเป็นอันดับ 4 ของโลก รัฐขับเคลื่อน “มะเร็งครบวงจร”

ผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับระยะลุกลาม มีความก้าวหน้าในการรักษาด้วยยานวัตกรรมช่วยยืดอายุผู้ป่วย หวังนำเข้าสิทธิประโยชน์ของรัฐ

กรุงเทพฯ ประเทศไทย - 1 ธันวาคม 2567 - VOICE OF LIVER 2024 ฟังเสียงตับ รับมือมะเร็ง ครั้งที่ 3 จัดโดยมูลนิธิรักษ์ตับ ได้รับเกียรติจาก รศ.นพ.เชิดชัย ตันติศิรินทร์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานเปิดงาน กล่าวว่า “มะเร็งเป็นโรคท้าทายของระบบสาธารณสุข เนื่องจากเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของประชากรไทย ซึ่งข้อมูลสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ รายงานในปี 2565 ประเทศไทยมีผู้ป่วยรายใหม่ ราว 1.4 แสนคนต่อปี เสียชีวิตประมาณ 84,000 คน”

นโยบาย 30 บาทพลัส ของกระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้มะเร็งครบวงจรเป็นหนึ่งในนโยบาย Quick Win  โดยมีโครงการ Cancer warrior เป็นตัวคัดกรองตรวจเจอได้เร็ว  เพื่อเข้าสู่การรักษาได้เร็ว  ปัจจุบันมะเร็งตับมียาและเทคโนโลยีที่มีคุณภาพสูงในการรักษาแบบครบวงจร ทั้งส่งเสริม ป้องกัน คัดกรอง วินิจฉัย รักษา และประคับประคอง โดยมีสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และสำนักงานประกันสังคม สนับสนุนในการตรวจคัดกรองให้ได้อย่างทั่วถึง

มะเร็งตับพบมากในเอเชีย

พญ.นภา ศิริวิวัฒนากุล ผู้อำนวยการสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กล่าวถึงสถานการณ์โรคมะเร็งตับในประเทศไทยว่า “พบผู้ป่วยโรคมะเร็งตับจำนวนมากในเอเชีย 73.3% จากข้อมูล GLOBOCAN WHO: Liver 2020 โดยมะเร็งตับเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็น หลังจากเป็นโรคตับอักเสบบีและซี หรือการติดจากการใช้เข็มร่วมกัน โดยโรคตับอักเสบบีสามารถถ่ายทอดจากแม่สู่ลูกถึง 90 % ในจำนวนนี้มีโอกาส 2 % ต่อปี ที่จะกลายเป็นโรคมะเร็งตับ ส่วนโรคตับอักเสบซีสามารถติดต่อทางเลือด มีโอกาสกลายเป็นโรคมะเร็งตับ 1-4 %ต่อปี”

ไทยเสียชีวิตจากมะเร็งตับ เป็นอันดับ 4 ของโลก

นพ. จำรัส  พงษ์พิศ  อายุรแพทย์ โรคระบบทางเดินอาหารและตับ รพ.หนองคาย และตัวแทนมูลนิธิรักษ์ตับ กล่าวว่า  “ในประเทศไทย อัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งตับสูงถึง 26,704 รายต่อปี เป็นอันดับ 4 ของโลก มีผู้เสียชีวิต 3 ราย เฉลี่ยทุกๆ 1 ชั่วโมง และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ในประเทศไทย เมื่อเทียบกับโรคมะเร็งชนิดอื่นๆ มะเร็งเซลล์ตับในระยะแรกมักไม่แสดงอาการ ผู้ป่วยมักมาพบแพทย์เมื่อโรคลุกลามไปมากแล้ว ทำให้การรักษาได้ผลไม่ดี และมีโอกาสหายต่ำ การพิจรณายารักษาโรคมะเร็งเซลล์ตับเป็นภาวะเร่งด่วนจึงอยากให้ทุกภาคส่วนร่วมกันหารือ เพื่อสิทธิประโยชน์ชองคนไทย”

นพ. จำรัส  พงษ์พิศ  อายุรแพทย์ โรคระบบทางเดินอาหารและตับ รพ.หนองคาย และตัวแทนมูลนิธิรักษ์ตับ กล่าวว่า  “ในประเทศไทย อัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งตับสูงถึง 26,704 รายต่อปี เป็นอันดับ 4 ของโลก มีผู้เสียชีวิต 3 ราย เฉลี่ยทุกๆ 1 ชั่วโมง และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ในประเทศไทย เมื่อเทียบกับโรคมะเร็งชนิดอื่นๆ มะเร็งเซลล์ตับในระยะแรกมักไม่แสดงอาการ ผู้ป่วยมักมาพบแพทย์เมื่อโรคลุกลามไปมากแล้ว ทำให้การรักษาได้ผลไม่ดี และมีโอกาสหายต่ำ การพิจรณายารักษาโรคมะเร็งเซลล์ตับเป็นภาวะเร่งด่วนจึงอยากให้ทุกภาคส่วนร่วมกันหารือ เพื่อสิทธิประโยชน์ชองคนไทย”

จากสถิติพบว่าผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาแต่เนิ่นๆ สามารถป้องกันการสูญเสียการมองเห็นได้ถึง 95%11 นพ. ธนาพงษ์ สมกิจรุ่งโรจน์ กล่าวเสริม "ในกรณีของผู้ป่วยที่มีภาวะจุดรับภาพชัดบวมจากเบาหวานขึ้นจอตา หากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยนวัตกรรมใหม่ พร้อมกับควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด อาการของโรคมีแนวโน้มที่จะดีขึ้นได้ภายในระยะเวลา 3-5 ปี และมีโอกาสสูงที่ผู้ป่วยจะสามารถหยุดยาได้"

"โชคดีที่ดิฉันได้รับการรักษาทันเวลา หลังได้รับการฉีดยาเข้าไปในน้ำวุ้นลูกตาที่ยับยั้งสองกลไก (Anti Ang-2/VEGF)  พร้อมกับการลดน้ำตาลและดูแลสุขภาพมากขึ้น ทำให้การมองเห็นของดิฉันกลับมาดีขึ้น ปัจจุบันคุณหมอบอกว่าผลลัพธ์คือเหมือนคนปกติแล้ว ด้วยการมาพบแพทย์ตามนัดหมายเพียง 3 เดือน ครั้ง เท่านั้น" คุณ อัจฉรา กล่าว

"อยากฝากถึงคนไทยทุกคน ให้ดูแลสุขภาพตั้งแต่เริ่มต้นไม่ว่าจะเรื่องของอาหารการกินที่ดีต่อสุขภาพและถูกสุขลักษณะ พร้อมกับการออกกำลังกายควบคู่ไปด้วย และไม่ประมาทกับชีวิต เพราะอาการเหล่านี้เกิดขึ้นได้ในทุกช่วงวัย" คุณ อัจฉรา กล่าวเสริม

"ผู้ที่มีภาวะจุดรับภาพชัดบวมจากเบาหวานขึ้นจอตาหรือมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้ ควรปรับพฤติกรรมและควบคุมโรคประจำตัวให้ดี โดยเฉพาะการควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม, ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด, งดการสูบบุหรี่ และควรต้องเข้ารับการรักษาต่อเนื่องตามการนัดของแพทย์ นอกจากนี้ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานควรหมั่นตรวจสุขภาพตากับจักษุแพทย์เป็นประจำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งเพื่อการวินิจฉัยที่เร็วและเริ่มการรักษาอย่างทันท่วงที ซึ่งมีส่วนช่วยในการลดการสูญเสียการมองเห็น เพราะการมองเห็นที่ชัดเจนเป็นส่วนสำคัญยิ่งกับคุณภาพชีวิต” นพ. ธนาพงษ์ กล่าวทิ้งท้าย

#worlddiabetesday2024 #เบาหวานขึ้นตา #ภัยเงียบที่คุกคามดวงตา #ตรวจตาเป็นประจำ #ตาพร่ามัวอย่าชะล่าใจ

อ้างอิง:

  1. J Med Assoc Thai Vol. 100 Suppl. 1 2017

  2. https://www.nuhs.edu.sg/patient-care/find-a-condition/diabetic-retinopathy

  3. https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=21692

  4. ตัวชี้วัดสำคัญประเทศไทย พ.ศ. 2567 https://www.nso.go.th/public/e-book/Indicators-Thailand/Thailand-Indicators-2567/22/ และ รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2562 - 2563 https://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/report/sreport6/sreport6_full.pdf

  5. https://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/report/sreport6/sreport6_full.pdf

  6. Leasher, J. L. et al. Global Estimates on the Number of People Blind or Visually Impaired by Diabetic Retinopathy: A Meta-Analysis from 1990 to 2010. Diabetes Care. 2016; 39:1643–9.

  7. https://pmc.ncbi.nlm.nih.gov/articles/PMC4775164/

  8. Heier JS et al. Efficacy, durability, and safety of intravitreal faricimab up to every 16 weeks for neovascular age-related macular degeneration (TENAYA and LUCERNE): two randomised, double-masked, phase 3, non-inferiority trials. www.thelancet.com Published online January 24, 2022 https://doi.org/10.1016/S0140-6736(22)00010-1

  9. Wykoff CC et al. Efficacy, durability, and safety of intravitreal faricimab with extended dosing up to every 16 weeks in patients with diabetic macular oedema (YOSEMITE and RHINE): two randomised, double-masked, phase 3 trials. www.thelancet.com Published online January 24, 2022 https://doi.org/10.1016/S0140-6736(22)00018-6

  10. Roche Data on File. July 2024

  11. https://www.nuhs.edu.sg/patient-care/find-a-condition/diabetic-retinopathy

การรักษาภาวะจุดรับภาพชัดบวมจากเบาหวานขึ้นจอตาในประเทศไทยมีวิวัฒนาการดีขึ้นจากเมื่อก่อน นพ. ธนาพงษ์ สมกิจรุ่งโรจน์ อธิบายว่า "เมื่อราว 10 กว่าปีที่แล้ว แนวทางการรักษาหลักของโรคทางจอประสาทตา รวมถึงภาวะจุดรับภาพชัดบวมจากเบาหวานขึ้นจอตาคือ การใช้เลเซอร์ ซึ่งวิธีดังกล่าวมักจะไม่สามารถทำให้การมองเห็นดีขึ้นได้มาก แต่การใช้เลเซอร์มีส่วนช่วยชะลอไม่ให้โรคลุกลามแย่ลงได้  ต่อมา มีการพัฒนาเป็นยาฉีดเข้าไปในน้ำวุ้นลูกตา โดยเป็นยาที่ออกฤทธิ์กลไกเดียวโดยยับยั้งที่ VEGF (Anti-VEGF) ช่วยลดการงอกของเส้นเลือดที่จอประสาทตา ผลที่ได้คือสามารถทำให้คุณภาพการมองเห็นของผู้ป่วยดีขึ้นได้ อย่างไรก็ดีการมองเห็นที่ดีขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ป่วยจำเป็นต้องทำการฉีดยาเข้าน้ำวุ้นตาอย่างต่อเนื่อง โดยมีความถี่ในการฉีดยาแต่ละชนิดแตกต่างกันไป บางชนิดผู้ป่วยต้องเข้ารับการฉีดยาบ่อยทุก 1-2 เดือน ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบทั้งต่อผู้ป่วยและผู้ดูแล โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ระยะทางจากบ้านและโรงพยาบาลห่างไกลกันมาก หรืออยู่คนละจังหวัด ผู้ป่วยที่มีคุณภาพการมองเห็นไม่ดีจำเป็นต้องพึ่งพาความช่วยเหลือจากผู้ดูแลซึ่งอาจจำเป็นต้องลางานมาโรงพยาบาลบ่อยๆ ปัจจุบัน ยาฉีดเข้าไปในน้ำวุ้นลูกตามีการพัฒนามากขึ้น เป็น dual pathway inhibitor (Anti Ang-2/VEGF) ซึ่งยับยั้งสองกลไกหลักของการเกิดโรค คือ ยับยั้งทั้ง VEGF และ Ang-2 ที่นอกจากจะช่วยลดการงอกของเส้นเลือดแล้ว ยังช่วยลดการรั่วของเส้นเลือด ลดการอักเสบของเส้นเลือด และทำให้เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงจอประสาทตามีความแข็งแรงมากขึ้น ยากลุ่มนี้จึงออกฤทธิ์ได้นานกว่าเดิม ทำให้ลดความถี่ในการฉีดยาลงได้ จากผลการวิจัยทางคลินิก, พบว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยในงานวิจัยได้รับการฉีดยาเพียง 4 เดือน ครั้ง ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยได้ดีกว่าเดิม  ส่วนเรื่องของความปลอดภัยและอาการข้างเคียง จากผลการวิจัยทางคลินิก8,9 ในผู้ป่วยมากกว่า 3,200 ราย และผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ได้รับยาจากการรักษาจริงอีกราว 4,000,000 เข็ม10 ยังไม่พบความแตกต่างของอาการข้างเคียงระหว่างยา dual pathway inhibitor (Anti Ang-2/VEGF) กับยาฉีดชนิดเดิมที่เคยมีมาในอดีตแต่อย่างใด ”

จากสถิติพบว่าผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาแต่เนิ่นๆ สามารถป้องกันการสูญเสียการมองเห็นได้ถึง 95%11 นพ. ธนาพงษ์ สมกิจรุ่งโรจน์ กล่าวเสริม "ในกรณีของผู้ป่วยที่มีภาวะจุดรับภาพชัดบวมจากเบาหวานขึ้นจอตา หากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยนวัตกรรมใหม่ พร้อมกับควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด อาการของโรคมีแนวโน้มที่จะดีขึ้นได้ภายในระยะเวลา 3-5 ปี และมีโอกาสสูงที่ผู้ป่วยจะสามารถหยุดยาได้"

"โชคดีที่ดิฉันได้รับการรักษาทันเวลา หลังได้รับการฉีดยาเข้าไปในน้ำวุ้นลูกตาที่ยับยั้งสองกลไก (Anti Ang-2/VEGF)  พร้อมกับการลดน้ำตาลและดูแลสุขภาพมากขึ้น ทำให้การมองเห็นของดิฉันกลับมาดีขึ้น ปัจจุบันคุณหมอบอกว่าผลลัพธ์คือเหมือนคนปกติแล้ว ด้วยการมาพบแพทย์ตามนัดหมายเพียง 3 เดือน ครั้ง เท่านั้น" คุณ อัจฉรา กล่าว

"อยากฝากถึงคนไทยทุกคน ให้ดูแลสุขภาพตั้งแต่เริ่มต้นไม่ว่าจะเรื่องของอาหารการกินที่ดีต่อสุขภาพและถูกสุขลักษณะ พร้อมกับการออกกำลังกายควบคู่ไปด้วย และไม่ประมาทกับชีวิต เพราะอาการเหล่านี้เกิดขึ้นได้ในทุกช่วงวัย" คุณ อัจฉรา กล่าวเสริม

"ผู้ที่มีภาวะจุดรับภาพชัดบวมจากเบาหวานขึ้นจอตาหรือมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้ ควรปรับพฤติกรรมและควบคุมโรคประจำตัวให้ดี โดยเฉพาะการควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม, ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด, งดการสูบบุหรี่ และควรต้องเข้ารับการรักษาต่อเนื่องตามการนัดของแพทย์ นอกจากนี้ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานควรหมั่นตรวจสุขภาพตากับจักษุแพทย์เป็นประจำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งเพื่อการวินิจฉัยที่เร็วและเริ่มการรักษาอย่างทันท่วงที ซึ่งมีส่วนช่วยในการลดการสูญเสียการมองเห็น เพราะการมองเห็นที่ชัดเจนเป็นส่วนสำคัญยิ่งกับคุณภาพชีวิต” นพ. ธนาพงษ์ กล่าวทิ้งท้าย

#worlddiabetesday2024 #เบาหวานขึ้นตา #ภัยเงียบที่คุกคามดวงตา #ตรวจตาเป็นประจำ #ตาพร่ามัวอย่าชะล่าใจ

อ้างอิง:

  1. J Med Assoc Thai Vol. 100 Suppl. 1 2017

  2. https://www.nuhs.edu.sg/patient-care/find-a-condition/diabetic-retinopathy

  3. https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=21692

  4. ตัวชี้วัดสำคัญประเทศไทย พ.ศ. 2567 https://www.nso.go.th/public/e-book/Indicators-Thailand/Thailand-Indicators-2567/22/ และ รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2562 - 2563 https://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/report/sreport6/sreport6_full.pdf

  5. https://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/report/sreport6/sreport6_full.pdf

  6. Leasher, J. L. et al. Global Estimates on the Number of People Blind or Visually Impaired by Diabetic Retinopathy: A Meta-Analysis from 1990 to 2010. Diabetes Care. 2016; 39:1643–9.

  7. https://pmc.ncbi.nlm.nih.gov/articles/PMC4775164/

  8. Heier JS et al. Efficacy, durability, and safety of intravitreal faricimab up to every 16 weeks for neovascular age-related macular degeneration (TENAYA and LUCERNE): two randomised, double-masked, phase 3, non-inferiority trials. www.thelancet.com Published online January 24, 2022 https://doi.org/10.1016/S0140-6736(22)00010-1

  9. Wykoff CC et al. Efficacy, durability, and safety of intravitreal faricimab with extended dosing up to every 16 weeks in patients with diabetic macular oedema (YOSEMITE and RHINE): two randomised, double-masked, phase 3 trials. www.thelancet.com Published online January 24, 2022 https://doi.org/10.1016/S0140-6736(22)00018-6

  10. Roche Data on File. July 2024

  11. https://www.nuhs.edu.sg/patient-care/find-a-condition/diabetic-retinopathy

การรักษาภาวะจุดรับภาพชัดบวมจากเบาหวานขึ้นจอตาในประเทศไทยมีวิวัฒนาการดีขึ้นจากเมื่อก่อน นพ. ธนาพงษ์ สมกิจรุ่งโรจน์ อธิบายว่า "เมื่อราว 10 กว่าปีที่แล้ว แนวทางการรักษาหลักของโรคทางจอประสาทตา รวมถึงภาวะจุดรับภาพชัดบวมจากเบาหวานขึ้นจอตาคือ การใช้เลเซอร์ ซึ่งวิธีดังกล่าวมักจะไม่สามารถทำให้การมองเห็นดีขึ้นได้มาก แต่การใช้เลเซอร์มีส่วนช่วยชะลอไม่ให้โรคลุกลามแย่ลงได้  ต่อมา มีการพัฒนาเป็นยาฉีดเข้าไปในน้ำวุ้นลูกตา โดยเป็นยาที่ออกฤทธิ์กลไกเดียวโดยยับยั้งที่ VEGF (Anti-VEGF) ช่วยลดการงอกของเส้นเลือดที่จอประสาทตา ผลที่ได้คือสามารถทำให้คุณภาพการมองเห็นของผู้ป่วยดีขึ้นได้ อย่างไรก็ดีการมองเห็นที่ดีขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ป่วยจำเป็นต้องทำการฉีดยาเข้าน้ำวุ้นตาอย่างต่อเนื่อง โดยมีความถี่ในการฉีดยาแต่ละชนิดแตกต่างกันไป บางชนิดผู้ป่วยต้องเข้ารับการฉีดยาบ่อยทุก 1-2 เดือน ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบทั้งต่อผู้ป่วยและผู้ดูแล โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ระยะทางจากบ้านและโรงพยาบาลห่างไกลกันมาก หรืออยู่คนละจังหวัด ผู้ป่วยที่มีคุณภาพการมองเห็นไม่ดีจำเป็นต้องพึ่งพาความช่วยเหลือจากผู้ดูแลซึ่งอาจจำเป็นต้องลางานมาโรงพยาบาลบ่อยๆ ปัจจุบัน ยาฉีดเข้าไปในน้ำวุ้นลูกตามีการพัฒนามากขึ้น เป็น dual pathway inhibitor (Anti Ang-2/VEGF) ซึ่งยับยั้งสองกลไกหลักของการเกิดโรค คือ ยับยั้งทั้ง VEGF และ Ang-2 ที่นอกจากจะช่วยลดการงอกของเส้นเลือดแล้ว ยังช่วยลดการรั่วของเส้นเลือด ลดการอักเสบของเส้นเลือด และทำให้เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงจอประสาทตามีความแข็งแรงมากขึ้น ยากลุ่มนี้จึงออกฤทธิ์ได้นานกว่าเดิม ทำให้ลดความถี่ในการฉีดยาลงได้ จากผลการวิจัยทางคลินิก, พบว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยในงานวิจัยได้รับการฉีดยาเพียง 4 เดือน ครั้ง ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยได้ดีกว่าเดิม  ส่วนเรื่องของความปลอดภัยและอาการข้างเคียง จากผลการวิจัยทางคลินิก8,9 ในผู้ป่วยมากกว่า 3,200 ราย และผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ได้รับยาจากการรักษาจริงอีกราว 4,000,000 เข็ม10 ยังไม่พบความแตกต่างของอาการข้างเคียงระหว่างยา dual pathway inhibitor (Anti Ang-2/VEGF) กับยาฉีดชนิดเดิมที่เคยมีมาในอดีตแต่อย่างใด ”

จากสถิติพบว่าผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาแต่เนิ่นๆ สามารถป้องกันการสูญเสียการมองเห็นได้ถึง 95%11 นพ. ธนาพงษ์ สมกิจรุ่งโรจน์ กล่าวเสริม "ในกรณีของผู้ป่วยที่มีภาวะจุดรับภาพชัดบวมจากเบาหวานขึ้นจอตา หากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยนวัตกรรมใหม่ พร้อมกับควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด อาการของโรคมีแนวโน้มที่จะดีขึ้นได้ภายในระยะเวลา 3-5 ปี และมีโอกาสสูงที่ผู้ป่วยจะสามารถหยุดยาได้"

"โชคดีที่ดิฉันได้รับการรักษาทันเวลา หลังได้รับการฉีดยาเข้าไปในน้ำวุ้นลูกตาที่ยับยั้งสองกลไก (Anti Ang-2/VEGF)  พร้อมกับการลดน้ำตาลและดูแลสุขภาพมากขึ้น ทำให้การมองเห็นของดิฉันกลับมาดีขึ้น ปัจจุบันคุณหมอบอกว่าผลลัพธ์คือเหมือนคนปกติแล้ว ด้วยการมาพบแพทย์ตามนัดหมายเพียง 3 เดือน ครั้ง เท่านั้น" คุณ อัจฉรา กล่าว

"อยากฝากถึงคนไทยทุกคน ให้ดูแลสุขภาพตั้งแต่เริ่มต้นไม่ว่าจะเรื่องของอาหารการกินที่ดีต่อสุขภาพและถูกสุขลักษณะ พร้อมกับการออกกำลังกายควบคู่ไปด้วย และไม่ประมาทกับชีวิต เพราะอาการเหล่านี้เกิดขึ้นได้ในทุกช่วงวัย" คุณ อัจฉรา กล่าวเสริม

"ผู้ที่มีภาวะจุดรับภาพชัดบวมจากเบาหวานขึ้นจอตาหรือมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้ ควรปรับพฤติกรรมและควบคุมโรคประจำตัวให้ดี โดยเฉพาะการควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม, ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด, งดการสูบบุหรี่ และควรต้องเข้ารับการรักษาต่อเนื่องตามการนัดของแพทย์ นอกจากนี้ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานควรหมั่นตรวจสุขภาพตากับจักษุแพทย์เป็นประจำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งเพื่อการวินิจฉัยที่เร็วและเริ่มการรักษาอย่างทันท่วงที ซึ่งมีส่วนช่วยในการลดการสูญเสียการมองเห็น เพราะการมองเห็นที่ชัดเจนเป็นส่วนสำคัญยิ่งกับคุณภาพชีวิต” นพ. ธนาพงษ์ กล่าวทิ้งท้าย

#worlddiabetesday2024 #เบาหวานขึ้นตา #ภัยเงียบที่คุกคามดวงตา #ตรวจตาเป็นประจำ #ตาพร่ามัวอย่าชะล่าใจ

อ้างอิง:

  1. J Med Assoc Thai Vol. 100 Suppl. 1 2017

  2. https://www.nuhs.edu.sg/patient-care/find-a-condition/diabetic-retinopathy

  3. https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=21692

  4. ตัวชี้วัดสำคัญประเทศไทย พ.ศ. 2567 https://www.nso.go.th/public/e-book/Indicators-Thailand/Thailand-Indicators-2567/22/ และ รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2562 - 2563 https://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/report/sreport6/sreport6_full.pdf

  5. https://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/report/sreport6/sreport6_full.pdf

  6. Leasher, J. L. et al. Global Estimates on the Number of People Blind or Visually Impaired by Diabetic Retinopathy: A Meta-Analysis from 1990 to 2010. Diabetes Care. 2016; 39:1643–9.

  7. https://pmc.ncbi.nlm.nih.gov/articles/PMC4775164/

  8. Heier JS et al. Efficacy, durability, and safety of intravitreal faricimab up to every 16 weeks for neovascular age-related macular degeneration (TENAYA and LUCERNE): two randomised, double-masked, phase 3, non-inferiority trials. www.thelancet.com Published online January 24, 2022 https://doi.org/10.1016/S0140-6736(22)00010-1

  9. Wykoff CC et al. Efficacy, durability, and safety of intravitreal faricimab with extended dosing up to every 16 weeks in patients with diabetic macular oedema (YOSEMITE and RHINE): two randomised, double-masked, phase 3 trials. www.thelancet.com Published online January 24, 2022 https://doi.org/10.1016/S0140-6736(22)00018-6

  10. Roche Data on File. July 2024

  11. https://www.nuhs.edu.sg/patient-care/find-a-condition/diabetic-retinopathy

นพ. จำรัส  พงษ์พิศ  อายุรแพทย์ โรคระบบทางเดินอาหารและตับ รพ.หนองคาย และตัวแทนมูลนิธิรักษ์ตับ กล่าวว่า  “ในประเทศไทย อัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งตับสูงถึง 26,704 รายต่อปี เป็นอันดับ 4 ของโลก มีผู้เสียชีวิต 3 ราย เฉลี่ยทุกๆ 1 ชั่วโมง และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ในประเทศไทย เมื่อเทียบกับโรคมะเร็งชนิดอื่นๆ มะเร็งเซลล์ตับในระยะแรกมักไม่แสดงอาการ ผู้ป่วยมักมาพบแพทย์เมื่อโรคลุกลามไปมากแล้ว ทำให้การรักษาได้ผลไม่ดี และมีโอกาสหายต่ำ การพิจรณายารักษาโรคมะเร็งเซลล์ตับเป็นภาวะเร่งด่วนจึงอยากให้ทุกภาคส่วนร่วมกันหารือ เพื่อสิทธิประโยชน์ชองคนไทย”

ยานวัตกรรมรักษามะเร็งเซลล์ตับระยะลุกลาม

พ.อ.ผศ.นพ.ไนยรัฐ ประสงค์สุข  อายุรแพทย์มะเร็งวิทยา รพ.พระมงกุฎเกล้าและหัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางด้านโรคมะเร็ง  รพ.พระมงกุฏเกล้า  อธิบายถึงการรักษาผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับว่า “ผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับระยะลุกลาม จำเป็นต้องให้การรักษาด้วยยา ได้แก่ 1. ยามุ่งเป้า ทำหน้าที่ไปยับยั้งไม่ให้มีการแบ่งตัว มีอัตรารอดชีวิตราว 10-13 เดือน 2. ยากลุ่มภูมิคุ้มกันบำบัดร่วมกับยาต้านการสร้างหลอดเลือด เป็นยาฉีด มีอัตรารอดชีวิตราว 19.2 เดือนในผู้ป่วยทั่วโลก และ 24 เดือนในผู้ป่วยในประเทศจีน ซึ่งปัจจุบันยังไม่มียาดังกล่าว บรรจุอยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ของผู้ป่วยโรคมะเร็งตับ”

ยกระดับสิทธิประโยชน์ผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับ

วีรยุทธ ยอดคำ ผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับระยะลุกลาม เผยว่า “ผมป่วยมาตั้งแต่ปี 2562 คุณหมอแนะนำให้รักษาด้วยการรับประทานยาต้านไวรัสแล้วค่อยใช้ยาพุ่งเป้ารักษามะเร็งอีกที เพราะเคสผมเป็นระยะลุกลาม เนื่องจากเป็นไวรัสตับอักเสบซี ผมรับประทานยาเม็ดได้ประมาณ 2-3 เดือน แล้วเกิดอาการข้างเคียงเยอะมาก มือเท้าแตก จับอะไรนิดหน่อยเป็นแผลแตกหมดเลย ใช้ชีวิตประจำวันค่อนข้างลำบากจึงขอเปลี่ยนเป็นยาตัวอื่น และได้รับยากลุ่มภูมิคุ้มกันบำบัดร่วมกับยาต้านการสร้างหลอดเลือด พบว่าดีขึ้น ไม่มีผลข้างเคียง และน้ำหนักเพิ่มขึ้น จากตอนแรกที่คิดว่าตัวเองคงไม่รอด ปัจจุบันผมพบหมอทุกๆ 3 สัปดาห์ เพื่อมารับยา แต่ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง เพราะยาไม่ได้อยู่ในสิทธิ์รักษา 30 บาท”

ด้านนพ.จักรกริช โง้วศิริ  ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) กล่าวว่า ยารักษามะเร็ง เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่มนุษย์ควรจะได้รับ ซึ่งบทบาทหน้าที่ของสปสช. ทำให้คนไทยทุกคนและทุกสิทธิได้รับสิทธิเท่าเทียมกัน

“การจะเพิ่มสิทธิประโยชน์ ตัวยาใหม่ๆ เข้ามาทดแทนยาเดิม ภายใต้มติของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ระบุว่า หากมียาตัวใดที่มีค่าใช้จ่ายไม่สูงจากยาเดิม หรือลดลงจากยาเดิมได้ ยานั้นก็สามารถเข้ามาทดแทนได้เลย โดยไม่ต้องรอให้บรรจุเข้าบัญชียาหลักแห่งชาติก่อน เพราะอาจจะต้องใช้เวลา 2-3 ปี” นพ. จักรกริชกล่าว

ขณะที่ ศ.นพ.พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์ อายุรแพทย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ  และหัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านโรคตับอักเสบและมะเร็งตับ  คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะสมาคมโรคตับแห่งประเทศไทย เสนอว่า  “แม้อยากรักษาทุกคน แต่ยังทำไม่ได้ เพราะฉะนั้น หากพิจารณาเลือกคนที่เหมาะสมที่จะรับยารักษาในระยะลุกลามก่อน เช่น คนที่ได้ผลดี มีอายุที่ยืนยาวกว่า เป็นต้น เพื่อให้เข้าถึงการรักษาทั่วถึง คนได้ประโยชน์สูงสุด ภายใต้การหารือของผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง นอกจากนั้นยังมีการศึกษาข้อมูลการใช้ยาภูมิคุ้มกันบำบัดในประเทศไทยพบว่าข้อมูลด้านประสิทธิภาพของคนไทยไม่แตกต่างจากข้อมูลการศึกษาของทั่วโลก”

การจัดงานครั้งนี้ สนับสนุนโดย โรช ไทยแลนด์ หนึ่งในบริษัทชั้นนำด้านการดูแลสุขภาพของไทยที่ลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาในประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง

M-TH-00003560